วันจันทร์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2561

การให้คำปรึกษาทางสุขภาพ


การให้คำปรึกษาทางสุขภาพ

https://sites.google.com/a/bcnc.ac.th/apivan/h

การให้คำปรึกษาทางสุขภาพ มีความหมายที่จะพิจารณาร่วมกัน ๒ ส่วนได้แก่ การให้คำปรึกษา (Counseling) และสุขภาพ (Health) หรือ สุขภาวะที่มีองค์ประกอบ ๔ มิติ ที่มีการเชื่อมโยงกันในด้านสุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางสังคมและสุขภาวะทางจิตวิญญาญ
ความหมายของการให้คำปรึกษาทางสุขภาพ
การให้คำปรึกษาทางสุขภาพ หมายถึง กระบวนการของสัมพันธภาพระหว่างผู้ให้คำปรึกษากับผู้รับคำปรึกษา เพื่อการช่วยเหลือให้มีบุคคลสุขภาพดี ทั้งสุขภาพทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา สังคม และจิตวิญญาณ โดยอาศัยเทคนัควิธีการในการให้คำปรึกษา และพื้นความรู้ด้านสุขภาพอนามัยของผู้ให้คำปรึกษาในการช่วยให้บุคคลรู้และเข้าใจตนเอง ยอมรับเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของตน สามารถดูแลสุขภาพ
วัตถุประสงค์ของการให้คำปรึกษา
1. เข้าใจตนเอง ผู้รับการปรึกษาเกิดความกระจ่างในตนเอง สามารถเชื่อมโยงความคิด อารมณ์ความรู้สึกถึงความ ต้องการที่แท้จริงกับสภาพแวดล้อมที่เป็นอยู่
2. ยอมรับปัญหาที่มีอยู่ ผู้ให้การปรึกษาจะช่วยให้ผู้รับการปรึกษาสามารถค้นหาปัญหา สาเหตุและความต้องการได้ด้วยตนเอง
3. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม สามารถใช้ศักยภาพที่มีอยู่มาใช้ในการเลือกและค้นหาวิธีการที่เหมาะสมกับผู้รับการปรึกษาเอง
https://pixabay.com/en/consulting-mental-health-health-1739639/

หน้าที่และคุณสมบัติของผู้ให้คำปรึกษา
1. ให้ขวัญและกำลังใจ ช่วยให้ผู้รับบริการปรึกษามีความพร้อมในการแก้ปัญหา
2. ช่วยให้ผู้รับบริการปรึกษา มองเห็นปัญหาและปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวกับปัญหา
3. ให้ข้อมูลที่จำเป็นในการแก้ปัญหาที่ผู้รับการปรึกษายังไม่ทราบ
4. ให้ความช่วยเหลือทางสังคมที่จำเป็น
5. ช่วยพัฒนาทักษะชีวิต และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คุณสมบัติที่ดีของผู้ให้คำปรึกษา
หน้าที่และคุณสมบัติของผู้ให้คำปรึกษา
1. การร่วมรับรู้ถึงความรู้สึกของผู้อื่นได้
2. รู้จักและยอมรับตนเอง
3. สบายใจที่จะอยู่กับผู้อื่น
4. มีความยุติธรรมและกล้าเปิดเผยตนเอง
5. อดทน ใจเยน
6. มีความยืดหยุ่นและปรับตัวได้ทนต่อสถานการณ์
7. จริงใจและตั้งใจช่วยเหลือผู้อื่น
8. มีท่าทีที่เป็นมิตรมองโลกในแง่ดี
9. มีปฏิภาณไหวพริบ ไวต่อความรู้สึกของผู้อื่น ช่างสังเกต
10.ใช้คำพูดที่เหมาะสม
11. มีอารมณ์ขัน
12. เป็นผู้รับฟังที่ดี
13.ช่วยแก้ปัญหาของผู้ให้คำปรึกษา ( ที่มา: https://docs.google.com/viewer?a=v&pid=sites&srcid=YmNuYy5hYy50aHxhcGl2YW58Z3g6NDA0NDEzMjYzODQ2NjZkYg )
ขั้นตอนการให้คำปรึกษาทางสุขภาพ

http://pws.npru.ac.th/serennia/index.php?act=6a992d5529f459a44fee58c733255e86&lntype=editor_top&stm_id=7047

ขั้นตอนที1 “การสร้างสัมพันธภาพ” เพือสร้างความไว้วางใจกล้าเปิดเผยเรื่องราว
1. การทักทาย (Greeting) 2. การพูดคุยเรืองทัวไป (Small talk) 3. การใส่ใจ (Attending) 1. ภาษาพูด (Verbal) 2. ภาษาท่าทาง (Non-verbal) 4. การเปิดประเด็น (Opening)

ขั้นตอนที 2 “การสํารวจและทําความเข้าใจปัญหา สาเหต และความต้องการ”
      1. ภูมิหลังความเป็นมา( เท่าทีจําเป็ น )
      2. องค์ประกอบของปัญหา
              2.1 เนือหาของปัญหา
              2.2 ผลกระทบต่อผ้รับการปรึกษา
              2.3 พฤติกรรมของ Cl.
              2.4 สัมพันธภาพของ Cl. ต่อคนอืน
              2.5 ศักยภาพของ Cl.

ขั้นตอนที 3 “การวางแผนแก้ไขปัญหา”
องค์ประกอบพื้นฐาน
      1. แรงจูงใจ
      2. ศักยภาพ
      3. การสนับสนุนทางสังคม
วิธีการวางแผนแก้ไขปัญหา
      1. มีแรงจูงใจในการแก้ไขปัญหา
      2. กําหนดเป้าหมายได้
      3. สํารวจทางเลือกต่างๆเพื่อแก้ไขปัญหา
      4. พิจารณาทางเลือกทีพึงประสงค์
      5. กําหนดแผนโดยละเอียด

ขั้นตอนที 4 “การยุติบริการ” เป็นการยุติการให้การปรึกษาในแต่ละครั้งและการยุติการให้คําปรึกษา ในแต่ละราย
วัตถุประสงค์
       1. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจร่วมกันในสิงทีได้พูดคุยในแต่ละครั้ง
       2. เพือกําหนดแนวทางปฏิบัติ เช่น การนัดหมายครั้งต่อไป การนําไปปฏิบัติจริง การส่งต่อ
เงื่อนไขการยุติบริการ
       1. หมดเวลา
       2. Cl.ผ่อนคลาย พบแนวทางปฏิบัติ
       3. สถานการณ์ เกินขอบข่ายการช่วยเหลือด้านจิตใจ/อันตราย
       4. Cl. เกิดภาวะพึงพิง Co.
       5. Cl. ไม่ให้ความร่วมมือ 6. ประเด็นเกินขีดความสามารถของ Co.
ขั้นตอนการยุติการให้คําปรึกษา
       1. ประเมินสถานการณ์
       2. การสรุปความ
       3. การนัดหมายครั้งต่อไป
       4. การส่งต่อ
       5. การลา
( ที่มา : file:///C:/Users/C310/Desktop/friend_2.pdf )





























ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น